บันทึกการเรียนครั้งที่ 1
วันจันทร์ ที่ 29 สิงหาคม 2559 ( 13:30 - 17:30 )
เนื้อหาที่เรียน / กิจกรรม
อาจารย์แจกใบปั๊มเวลาเรียน และแผ่นเพลงภาษาอังกฤษ
De Bono ความสามารถในการคิดนอกกรอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
อุษณีย์ โพธิสุข กระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลายๆ อย่างมารวมกัน เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และต้องมีอิสรภาพทางความคิด
คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์
1.คุณค่าต่อสังคม
2.คุณค่าต่อตนเอง
3.ทำให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
4.ช่วยลดความเครียดทางอารมณ์
5.มีความภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง
6.นำมาซึ่งความเป็นผู้นำ
7.ตะหนักถึงคุณค่าของตนเอง
8.ช่วยส่งเสริมสุนทรียภาพ
9.สร้างนิสัยในการทำงานที่ดี
10.พัฒนากล้ามเนื้อ
11.เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้า ได้ทดลอง ได้ประสบความสำเร็จ
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
Guilford ได้แบ่งองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์เป็น 4 ด้าน
1. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency)
10.พัฒนากล้ามเนื้อ
11.เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้า ได้ทดลอง ได้ประสบความสำเร็จ
2. ความคิดริเริ่ม (Originality)
3. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility)
4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
•แรกเกิด-2ปี มีจินตนาการ สำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
•2-4 ปี ตื่นตัวกับสิ่งใหม่ ใช้จินตนาการกับการเล่น ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง ช่วงความสนใจสั้น
•4-6 ปี สนุกกับการวางแผน การเล่น การทำงาน ชอบเล่นสมมติเชื่อมโยงสิ่งต่างๆได้ แต่จะเข้าใจเหตุและผลได้ไม่ดีนัก
•ขั้นที่ 1 แสดงออกอย่างอิสระทางความคิด ไม่คำนึงถึงคุณภาพ
•ขั้นที่ 2 งานที่ผลิตต้องอาศัยทักษะบางอย่าง
•ขั้นที่ 3 ประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆโดยไม่ซ้ำใคร
•ขั้นที่ 4 ปรับปรุงขั้นที่ 3 ขั้นที่ 5 คิดสิ่งที่เป็นนามธรรมขั้นสูงสุด คิดหลักการใหม่ๆ
•อำนวยประโยชน์สุขให้แก่บุคคล
•ช่วยให้เข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาได้ดี
•ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จ
•ช่วยให้ปรับตัวได้ดี
แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
(ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
•ภาพ
•สัญลักษณ์
•ภาษา
•พฤติกรรม
(กระบวนการทำงานของสมอง)
•การรู้และเข้าใจ
•การจำ
•การคิดแบบอเนกนัย
•การคิดแบบเอกนัย
•การประเมินค่า
(การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
•หน่วย
•จำพวก
•ความสัมพันธ์
•ระบบ
•การแปลงรูป
•การประยุกต์
•เด็กคิดเอง
•ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
•สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
ทฤษฎีของ Torrance
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการของความรู้สึกต่อปัญหา แล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็นสมมติฐาน และเผยแพร่ผลที่ได้จากการทดสอบ
•ขั้นที่ 1 การพบความจริง
•ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญหา
•ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
•ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
•ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
•ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
•ได้สำรวจ ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
•ขจัดอุปสรรค
•ไม่มีการแข่งขัน
•ให้ความสนใจเด็ก
•มีไหวพริบ
•กล้าแสดงออก
•อยากรู้อยากเห็น
•ช่างสังเกต
•มีอารมณ์ขัน
•มีสมาธิ
•รักอิสระ
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้ 3 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง (Incompleteness, Openness)
ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ (Producing Something and Using It)
ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก (Using Pupil Question)
การตั้งคำถาม 5W1H
•Who ใคร
•What อะไร
•Where ที่ไหน
•When เมื่อไหร่
•Why ทำไม
•How อย่างไร
•Who ใคร
•What อะไร
•Where ที่ไหน
•When เมื่อไหร่
•Why ทำไม
•How อย่างไร
กิจกรรมสุดท้าย
ให้ใช้สีลากเส้นตามอิสระโดยไม่เป็นรูป และห้ามยกมื่อขึ้น ถ้ายกมือขึ้นก็ถือว่าหยุดวาด
และใช้สีอื่นวาดตัดเส้นให้เห็นว่าภาพที่เขียนเป็นรูปอะไรบ้าง ได้รูปผีเสื้อ ดอกไม้ ก้อนเมฆ
ประยุกต์ใช้
ฝึกการใช้ความคิดของสมองทั้ง 2 ข้าง และฝึกความคิดสร้างสรรค์ของตัวเราด้วย และเราสามารถนำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กๆได้อีกด้วย
ประเมินอาจารย์ 100 %
ประเมินตนเอง 100 %
ประเมินเพื่อน 100 %
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น